วันอังคารที่ 20 พฤศจิกายน 2555
เรื่องที่อาจารย์สอน
- สอนเรื่องการเลือกหน่วยการเรียนแก่เด็ก
1.ต้องเป็นเรื่องใกล้ตัวเด็ก
2.เป็นสิ่งที่ส่งผลกระทบกับเด็ก
3.เด็กนำไปใช้ประโยชน์ได้
- หน่วยที่เป็นนามธรรมจะจัดการเรียนการสอนแก่เด็กได้ยากจึงต้องใช้หน่วยที่เป็นรูปธรรมเข้ามาช่วย
- อาจารย์ตรวจงานที่ให้ไปหาหน่วยจัดการเรียนการสอนแก่เด็ก "หน่วย กล้วย" ต้องมีสาระเพิ่มเติมและให้นำความรู้ทางด้านคณิตศาสตร์มาจัดจับคู่เพื่อง่ายต่อการจัดกิจกรรมแก่เด็กต่อไป
- เนื้อหาหรือทักษะทางคณิตศาสตร์
1. การนับ (Counting) รู้จักการนับแบบมีความหมาย เป็นพื้นฐานเบื้องต้น
2. ตัวเลข (Number) แทนจำนวน แทนลำดับที่ เป็นสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ที่เป็นตัวเลขฮินดูอารบิกและเป็นสัญลักษณ์แทนภาษาทางคณิตศาสตร์
3. การจับคู่ (Matching) จำนวนกับจำนวน จำนวนกับตัวเลขและตัวเลขกับตัวเลข
4. การจัดประเภท (Classification) ควรมีเกณฑ์ 1 เกณฑ์สำหรับเด็ก
5. การเปรียบเทียบ (Comparing) ในเรื่องของจำนวนให้รู้จักการใช้ศัพท์ สั้นกว่า ยาวกว่า หนักกว่า เบากว่า
6. การจัดลำดับ (Ordering) มี 2 สิ่งใช้กว่าได้ มี 3 สิ่งใช้ที่สุด
7. รูปทรงและเนื้อที่ (Shape Space) รูปทรงกลม รูปทรงสามเหลี่ยม รูปทรงสี่เหลี่ยม บรรจุได้ มีความยาว ความกว้าง ความลึก
8. การวัด (Measurement) การหาค่า อาจใช้การกะประมาณหรือใช้เครื่องมือทั้งเป็นทางการและไม่เป็นทางการ ใช้ได้ทั้งการหาความยาวและน้ำหนัก
9. เซต (Set) คล้ายการจัดประเภท สิ่งของที่มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
10. เศษส่วน (Fraction) ของมีการแบ่งเพื่อเป็นประสบการณ์
11. การทำตามแบบหรือลวดลาย (Patterning) ทำแบบเพื่อเป็นการสื่อสารความเข้าใจร่วมกัน ฝึกทำตามแบบโดยให้เด็กเลือกไม่ใช่การบังคับ
12. การอนุรักษ์หรือการคงที่ปริมาณ () ให้เด็กมีความคิดรวบยอดเรื่องการอนุรักษ์ที่ว่าปริมาณของวัตถุยังคงที่ไม่ว่าจะย้ายหรือทำให้มีรูปร่างเปลี่ยนไปก็ตาม เด็กสามารถคิดเชื่อมโยงอย่างมีเหตุผล
- สถิติ คือ ความสัมพันธ์สองแกน
- กราฟ คือ การนำเสนอข้อมูลเปรียบเทียบจำนวน
แฟ้มสะสมงานในรายวิชาการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
วันศุกร์ที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
วันเสาร์ที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 2
วันอังคารที่ 13 พฤศจิกายน 2555
เรื่องที่อาจารย์สอน
- ให้ น.ศ. วาดรูปแทนตัวเอง เขียนชื่อ นำไปติดหน้ากระดานโดยใช้เกณฑ์เวลาในการจัดหมวดหมู่
- สิ่งที่เป็นคณิตศาสตร์ ได้แก่ รูปทรง รูปร่าง ขนาด จำนวน(ปริมาณ) การนับ ลำดับ เปรียบเทียบ การเพิ่ม การลด
- เด็กเทียบเคียงได้ถือว่าเริ่มใช้เหตุผล
- ใช้เลขฮินดูอารบิกแทนจำนวน
- ใช้ในกิจกรรมกิจวัตรประจำวัน
- คณิตศาสตร์เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้บูรณาการกับวิชาอื่นๆ ได้แก่ คณิตศาสตร์ผ่านสื่อเพลงบูรณาการเข้าสู่การเคลื่อนไหวและจังหวะ การใช้คณิตศาสตร์ในกิจกรรมเสรี การใช้เกมการศึกษาและกิจกรรมกลางแจ้ง
เรื่องที่อาจารย์สอน
- ให้ น.ศ. วาดรูปแทนตัวเอง เขียนชื่อ นำไปติดหน้ากระดานโดยใช้เกณฑ์เวลาในการจัดหมวดหมู่
- สิ่งที่เป็นคณิตศาสตร์ ได้แก่ รูปทรง รูปร่าง ขนาด จำนวน(ปริมาณ) การนับ ลำดับ เปรียบเทียบ การเพิ่ม การลด
- เด็กเทียบเคียงได้ถือว่าเริ่มใช้เหตุผล
- ใช้เลขฮินดูอารบิกแทนจำนวน
- ใช้ในกิจกรรมกิจวัตรประจำวัน
- คณิตศาสตร์เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้บูรณาการกับวิชาอื่นๆ ได้แก่ คณิตศาสตร์ผ่านสื่อเพลงบูรณาการเข้าสู่การเคลื่อนไหวและจังหวะ การใช้คณิตศาสตร์ในกิจกรรมเสรี การใช้เกมการศึกษาและกิจกรรมกลางแจ้ง
วันศุกร์ที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 1
วันอังคารที่ 6 พฤศจิกายน 2555
เรื่องที่อาจารย์สอน
- ชี้แจงเปลี่ยนห้องเรียนเป็นห้อง 224 เวลา 12:00-15:00น.
เลขที่ 12
- ชี้แจงการทำงานส่งอาทิตย์ต่ออาทิตย์
- ให้ตอบคำถาม 3 ข้อ
- สอนความหมายของการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
เรื่องที่อาจารย์สอน
- ชี้แจงเปลี่ยนห้องเรียนเป็นห้อง 224 เวลา 12:00-15:00น.
เลขที่ 12
- ชี้แจงการทำงานส่งอาทิตย์ต่ออาทิตย์
- ให้ตอบคำถาม 3 ข้อ
- สอนความหมายของการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)